วันพุธที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2558

รักษายางตายนึ่งหายแล้ว ที่ อ.ควนขนุน จ.พัทลุง

รักษายางตายนึ่ง กับนวัตกรรม เกษตรอินทรีย์
แปลงนี้อยู่ที่ อ.ควนขนุน จ.พัทลุง เป็นแปลงของ คุณชม  จันแดงครับ


ขอนำภาพก่อนรักษามาให้ชมก่อนน่ะครับ 


เตรียมพร้อมสำหรับการรักษายางตายนึ่ง ยางหน้าตายครับ


 จากภาพจะเห็นได้ว่าต้นยางมีสภาพเสื่อมโทรมมากครับ  เปลือกลอกเปลือกแตกหมดเลย ทีมงานได้ ถากเปลือกที่เสียแล้วออกจนหมด  เพื่อนที่จะได้ทำการรักษาโดยการให้วัคซีนเพื่อฆ่าเชื้อโรค เชื้อราต่างๆที่อยู่ในต้นยางพารา เพื่อที่ต้นยางพาราจะได้สร้างเปลือกใหม่ ฟื้นฟูเซลล์ท่อน้ำยางให้กลับมาไหลเป็นปกติอีกครั้ง






 เมื่อถากเปลือก ไสเปลือกนอกออกหมดแล้ว ไม่พลาดขั้นตอนต่อไปคือรักษาด้วย ชุดรักษายางตายนึ่ง


ตามขั้นตอนนี้เลยครับ








เมื่อรักษาครบ 1 เดือนแล้ว วันนี้จะมาเปิดกรีดให้ดูกันน่ะครับว่ารักษายางตายนึ่งหายหรืิอไม่ แล้วน้ำยางกลับมาไหลเป็นปกติหรอเปล่าครับ 


>>>>>




จะกรีดแล้วนะครับ


 น้ำยางหยดแรกออกแล้ว หลังจากที่หยุดไหลมาหลายปี



นอกจากน้ำยางกลับมาไหลเป็นปกติแล้ว ยางได้หน้ายาง ที่สวย เรียบเนียนกว่าเดิมครับ
ทั้งหมดนี้ไม่ได้เกิดขึ้นเพราะความบังเอิญ  แต่เป็นเพราะเราเข้าใจกระบวนการทำงานของพืช ว่าพืชต้องการอะไรไปเสริม ไปช่วย ไม่ว่าจะเป็นเรื่องโรคพืช รวมถึงการเพิ่มผลผลิต

คุณชม จันแดงเลยจัดครบชุดรักษายางตายนึ่ง เพราะมั่นใจและเห็นกับตาตัวเองแล้วครับ

มั่นใจคุณภาพ มั่นใจ "ออร์กาเนลไลฟ์" ครับ


 ท่านใดอยู่ในพื้นที่ หรืออยู่ไกล้เคียง อ.เมือง จ.พัทลุง  ติดต่อได้ที่คุณจิรทีปต์ 086 - 0460549


(ร้านวรรณาการเกษตร)ได้เลยครับ 








สนใจติดต่อ
084 - 8809595 , 084 - 3696633
www. ยางตายนึ่ง.com
www.facebook.com/PathwayEraser1

📱Line ID : @organellelife.com (อย่าลืมพิมพ์ @ ด้วยครับ)
หรือกดลิงก์ด้านล่าง แล้วเพิ่มเป็นเพื่อนใน Line@ เพื่อคุยสอบถามข้อมูลได้ครับ>>> http://line.me/ti/p/%40organellelife.com


ยาสามัญประจำ(บ้าน) สวนยางพารา

ภาพจากทีมงานคุณสายสมรส่งมาให้ชมกันครับ

วันนี้คุณสายสมรได้เอายาสามัญประจำสวนยางพามาส่งที่ อ.พรเจริญ จ.บึงกาฬ

 
 หน้ายางสวยใสมากครับ เพราะใช้ชุดคู่ขวัญยางพารา นี่เอง



 ใช้มาตลอด ประทับใจชุดคู่ขวัญยางพารา "พาร์ทเวย์  + อีเรเซอร์-วัน" หน้ายางสวยใส ไม่เป็นโรค อีกทั้งยังได้ยางน้ำหนักดี เปอร์เซ็นต์ยางสูง มีคุณภาพครับ



ทีมงานออร์กาเนลไลฟ์ ยินดีรับใช้และให้คำปรึกษาทุกท่านครับ 
084 - 8809595 , 084 - 3696633
Line ID : @organellelife.com

หรือกดลิงก์ด้านล่าง แล้วเพิ่มเป็นเพื่อนใน Line@ เพื่อคุยสอบถามข้อมูลได้ครับ>>> 
 http://line.me/ti/p/%40organellelife.com




หน้ายางสวยทุกต้นที่ได้ใช้ชุดคู่ขวัญยางพารา

วันจันทร์ที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2558

โรคที่เกิดกับยางพารา ปัญหาที่พบกับยางพารา



รักษารากเน่าโคนเน่า เจอแบบนี้อย่าปล่อยไว้นาน รีบให้เราแก้ไข




น่าสงสาร และเสียดายหน้ายางมากครับ  ต้องใช้เวลากี่ปีกว่าจะโต กรีดได้หน้าเดียวแบบนี้เหนื่อยใจครับ






ปัญหาเหล่านี้ "ออร์กาเนลไลฟ์" ยินดีแก้ไขให้ท่าน 
สนใจติดต่อ
084 - 8809595 , 084 - 3696633
www. ยางตายนึ่ง.com
www.facebook.com/PathwayEraser1
📱Line ID : @organellelife.com (อย่าลืมพิมพ์ @ ด้วยครับ)
หรือกดลิงก์ด้านล่าง แล้วเพิ่มเป็นเพื่อนใน Line@ เพื่อคุยสอบถามข้อมูลได้ครับ>>> http://line.me/ti/p/%40organellelife.com

บทบาทและหน้าที่ของกรดอินทรีย์ Hydroxy acid ที่มีต่อต้นยางพารา

บทบาทและหน้าที่ของกรดอินทรีย์ Hydroxy acid ที่มีอยุ่ใน "อีเรเซอร์-1"

 


    กระตุ้นให้เซลล์ สร้างโปรตีนและสารต่างๆ ออกมาเพื่อสมานแผลจากการกรีด ป้องกันโรคแทรกซ้อน และสร้างหน้ายางใหม่ ขึ้นมาทดแทน



กลไกป้องกันตนเองของต้นยางด้วย Hydroxy  acid

- กระตุ้นการสมานแผลจากการกรีดโดยกระตุ้นการสร้างและสะสม ligninเสริมความแข็งแรงที่ผนังเซลล์ - กระตุ้นการสร้าง phenolics ,phytoalexin , PR-proteins เพื่อช่วยป้องกัน เชื้อโรคแทรกซ้อน จาก บาดแผลที่กรีด
- กระตุ้นให้เกิดการหมุนเวียนของน้ำและสารอาหาร (water circulation ) ในระบบท่อลำเลียงดีขึ้น มากขึ้น
- เพิ่มการแบ่งเซลล์ของเยื่อเจริญสร้างเป็นหน้ายางใหม่ได้เร็วขึ้น และรักษาสมดุลของเซลล์ ทำให้การแบ่งเซลล์สมบูรณ์ไม่ผิดรูปร่าง
- ฟื้นฟูสภาพและการทำหน้าที่ต่างๆของเซลล์ให้กลับมาเป็นปกติเหมือนเซลล์ใหม่ (revitalize)


พาร์ทเวย์ กับ การเลียนแบบ ขบวนการสังเคราะห์น้ำยางตามธรรมชาติ

น้ำยางในต้นยางพารา  มีส่วนประกอบของสาร cis–polyisoprene (C5H8)n ซึ่ง ในน้ำยางที่มีคุณภาพสูงจะมีปริมาณของสารนี้ในสัดส่วนที่สูงและมีขนาดสายของ โมเลกุลที่ยาว สารตั้งต้นที่ใช้ในการผลิตน้ำยางในธรรมชาติได้จากการสังเคราะห์แสง ได้แก่ สารมาเลท (Malate) ซึ่งจะเปลี่ยนเป็น Acetyl-CoA และPyruvate ก่อนที่จะผ่านขบวนการทางชีวเคมีเปลี่ยนเป็นสาร IPP ซึ่งเป็นหน่วยเล็กสุดของโมเลกุลของยางธรรมชาติ Isoprenoid Pathway เป็นการสังเคราะห์สาร IPP จาก Malate เปลี่ยนเป็น Acetyl-CoA GAP/Pyruvate  Pathway เป็นการสังเคราะห์ IPP จาก Malate เปลี่ยนเป็น Pyruvate

สาร IPP ที่ได้จะรวมตัวกันโดย enzyme IPPI และมี Mg2+ เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา ได้เป็นสารที่มีคาร์บอนสูงขึ้นจาก IPP(C5) เป็น DMAPP(C5), GPP(C10),FPP(C15)และ GGPP(20) ตามลำดับ ในขั้นตอนสุดท้ายสาร GGPP แต่ละโมเลกุลจะต่อกันเป็นสายโพลิเมอร์โดย enzyme Rubber Transferase (RuT)

โดยดึงเอาสาร IPP เป็นตัวเชื่อมระหว่างสาร GGPP จนได้เป็นสายโมเลกุลที่ยาวขึ้นในรูป cis – polyisoprene

เทคนิคการเพิ่มผลผลิตน้ำยาง  โดยต้นยางไม่โทรมด้วยวิธีทางชีวเคมีเคมี เทคนิคการเพิ่มผลผลิตน้ำยางด้วยวิธีทางชีวเคมีที่ดีและถูกต้อง  เป็น เทคนิคที่ส่งเสริมการเจริญเติบโตและการบำรุงรักษาต้นยางให้สมบูรณ์อย่างถูก วิธีและต่อเนื่อง และไม่ใช่วิธีเร่งแบบเดิมๆ ด้วยการใช้สารเร่งการแก่ของพืชอย่าง เอทีฟอน (Ethephon) ซึ่งสามารถ

เพิ่มผลผลิตน้ำยางได้ดี แต่ก็จะทำให้ต้นยางโทรม ต้นยางตายและต้นยางอาจตายก่อนอายุกำหนดในที่สุด

เทคนิคการเพิ่มผลผลิตน้ำยางด้วยสารเคมีที่เหมาะสมอย่างถูกวิธีประกอบด้วย 3 แนวทางประกอบกัน ได้แก่

1. การให้วัตถุดิบในการผลิตน้ำยาง

2. การบำรุงสภาพหน้ายางและเซลล์ผลิตน้ำยาง (Laticifer) ให้สมบูรณ์แข็งแรงอยู่เสมอ

3. ให้ต้นยางแบ่งเซลล์ผลิตน้ำยาง (Laticifer) มากขึ้น






การให้วัตถุดิบในการผลิตน้ำยาง

น้ำ ยางที่เกิดขึ้นต้องมีวัตถุดิบในการสังเคราะห์ขึ้นมา ซึ่งได้แก่ ปุ๋ยธาตุอาหารหลัก ธาตุอาหารรอง ธาตุอาหารเสริมคาร์บอนไดออกไซด์ น้ำ และแสงแดด ดังนั้น ถ้าต้องการน้ำยางมากก็จำเป็นต้องให้วัตถุดิบเหล่านี้มากตามไปด้วยแต่ในสภาพ ภูมิอากาศ สิ่งแวดล้อม หรือสภาพต้นยางที่ไม่สมบูรณ์ ขบวนการสังเคราะห์น้ำยางจะไม่สมบูรณ์ ทำให้บางครั้ง การนำปุ๋ยและธาตุอาหารเหล่านี้ไปใช้ได้ไม่เต็มที่ การให้ สารตั้งต้น(Precursor) อย่างสาร Malate ( PATHWAY )

เป็นเทคนิคหนึ่งที่ช่วยลดปัญหาจากสภาพที่ไม่เหมาะสมได้ เพิ่มวัตถุดิบในการผลิตน้ำยางได้ทันทีทุกสภาพแวดล้อม

บำรุงสภาพหน้ายางและเซลผลิตน้ำยางให้สมบูรณ์แข็งแรง

   ถ้าเซลล์ผลิตน้ำยาง (Laticifer) แข็งแรงไม่เกิดเชื้อโรคเข้าทำลาย การผลิตน้ำยางก็จะสม่ำเสมอเป็นปกติ  การ ใช้เอทีฟอน เป็นประจำจะเร่งการตายของเซลล์ผลิตน้ำยาง น้ำยางได้มากช่วงแรก แต่เมื่อเซลล์ตายก็ไม่สามารถผลิตน้ำยางได้ในที่สุด การทำให้เซลล์ผลิตน้ำยางแข็งแรงและการลดเชื้อโรคบริเวณหน้ายาง ทำได้โดยการกระตุ้นภูมิต้านทานป้องกันตนเอง

(self  defense mechanism) ให้ต้นยาง ด้วยกรดอินทรีย์  Hydroxy acid

(อย่าง ERASER-1) ทำให้สามารถต้านทานเชื้อโรคที่เข้าทำลายเซลล์ผลิตน้ำยาง

บริเวณหน้ายางได้ดีขึ้น และยังส่งเสริมให้เซลล์ผลิตน้ำยางแข็งแรง ผลิตน้ำยางสม่ำเสมอ สร้างหน้ายางใหม่สมบูรณ์และกรีดง่าย


การเพิ่มจำนวนเซลล์ผลิตน้ำยาง
ถ้ามีเซลล์ผลิตน้ำยางมากก็จะมีผลผลิตน้ำยางมาก ซึ่งโดยธรรมชาติเซลล์ผลิตน้ำยางจะเกิด จากการแบ่งตัวของเซลล์เยื่อเจริญที่อยู่ใต้ชั้น เปลือกของต้นยาง (ลึกกว่ารอยกรีดเล็กน้อย) การให้ MeJA (อย่าง LATEK)  เพียงเล็กน้อย จะทำให้การแบ่งตัวของเยื่อเจริญได้เป็นเซลล์ผลิตน้ำยาง (Laticifer) มากขึ้น


สนใจติดต่อ
084 - 8809595 , 084 - 3696633
www. ยางตายนึ่ง.com
www.facebook.com/PathwayEraser1
📱Line ID : @organellelife.com (อย่าลืมพิมพ์ @ ด้วยครับ)
หรือกดลิงก์ด้านล่าง แล้วเพิ่มเป็นเพื่อนใน Line@ เพื่อคุยสอบถามข้อมูลได้ครับ>>> http://line.me/ti/p/%40organellelife.com

ทฤษฎีการเลียนแบบกระบวนการธรรมชาติของพืช "พาร์ทเวย์" สารทดแทนการสังเคราะห์แสงของพืช

 
      พาร์ทเวย์ #ไอพีพี  สารอินทรีย์สังเคราะห์เพื่อเป็นสารตั้งต้น (Starter)ในการสร้างสารสะสมต่างๆในพืช (น้ำยาง, น้ำมัน, น้ำตาล, แป้ง ฯลฯ)


   1.   พาร์ทเวย์ คืออะไร

“ พาร์ทเวย์” ไม่ใช่สารกระตุ้นการเจริญเติบโตของพืช, ไม่ใช่ฮอร์โมนพืชและไม่ใช่สารอาหารเสริมพืช
 แต่ “พาร์ทเวย์” เป็น “สารตั้งต้น” เลียนแบบธรรมชาติ ซึ่งโดยปรกติธรรมชาติของพืชจะได้รับ “สารตั้งต้น” (Malate)นี้จากขบวนการสังเคราะห์แสง และนำ “สารตั้งต้น” นี้ไปใช้ในการสร้างการสะสมในพืชต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นสารสะสมเพื่อสร้างน้ำยาง, สารสะสมเพื่อสร้างน้ำมันในปาล์มน้ำมัน ถั่วเหลือง ทานตะวัน หรือสารสะสมเพื่อสร้างน้ำตาลหรือสารสะสมเพื่อสร้างแป้ง ก็ตามที  ในสภาพแวดล้อมปรกติ พืชจะได้รับแสงแดด ซึ่งเป็นพลังงานในขบวนการ “สังเคราะห์แสง” วันละ 8 -10 ชั่วโมง ทำให้กระบวนการสังเคราะห์แสงดำเนินไปได้ตามปรกติ แต่ถ้าในสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม ไม่ว่าจะเป็นช่วงฤดูกาลที่แสงแดดน้อย หรือ กลางวันสั้น หรือในสภาพที่เมฆหมอกหนาจัด อุณหภูมิลดต่ำลง สภาพดินฟ้าอากาศที่แปรปรวน ฝนตกทั้งวันทั้งคืน ก็เป็นสาเหตุทำให้พืชได้รับแสงแดดไม่เพียงพอต่อการ “สังเคราะห์แสง” หรือแม้กระทั่งใบพืชเองถูกรบกวนจากโรคและแมลงจนเสียหาย ก็เป็นอีกสาเหตุหนึ่งที่ทำให้พืช “สังเคราะห์แสง” ไม่สมบูรณ์และเพียงพอ ดังนั้นพืชเองก็จะมีปัญหาในกระบวนการสร้างสารสะสม เพื่อสร้างผลิตภัณฑ์อันเป็นผลผลิตของพืชนั้นๆ อาทิ การสร้างน้ำยาง, การสร้างน้ำมันปาล์ม หรือการสร้างแป้งในข้าวหรือมันสำปะหลัง หรือแม้กระทั่งการสร้างความหวานของอ้อยหรือผลไม้เป็นต้น


    2.   ทำไมต้องให้พาร์ทเวย์


                 การให้ “พาร์ทเวย์” จึงเป็นการให้ “สารตั้งต้น” (Malate) ทางลัด โดยเลียนแบบธรรมชาติ เพื่อเพิ่มเติม หรือเสริมในส่วนที่ขาดหรือบกพร่อง จากการสังเคราะห์ที่ไม่สมบูรณ์ตามธรรมชาติ เนื่องจากตัวแปรในทุกๆด้านผิดปรกติ ไม่ว่าจะเป็นสภาพดินฟ้าอากาศ ที่ไม่เอื้ออำนวย หรือใบพืชถูกศัตรูรบกวนทั้งโรคพืชและแมลง จนเกิดความเสียหาย เป็นต้น


ผลที่ได้จากการใช้ “พาร์ทเวย์”


1. ช่วยเพิ่มการสะสมน้ำมันและไขมัน ใช้เพิ่มผลผลิตปาล์มน้ำมัน ถั่วเหลือง และเหมาะกับการนำไปใช้เพิ่มผลผลิตแก่พืชให้น้ำมันทุกชนิด
2. ช่วยเพิ่มการสะสมน้ำยาง เพิ่มผลผลิตน้ำยาง เพิ่มคุณภาพน้ำยาง ให้ข้นขึ้นมีเปอร์เซ็นต์ยางสูงและมีโมเลกุล ยาวขึ้น
3. ช่วยเพิ่มการสะสมน้ำตาล เพิ่มผลผลิตให้กับอ้อย ช่วยเพิ่มคุณภาพและความหวานให้กับผลไม้ทุกช นิด
4. ช่วยเพิ่มการสะสมแป้งในหัวพืช เช่น มันสำปะหลัง มันฝรั่ง เผือก เป็นต้น
5. ช่วยเพิ่มพลังงานช่วงพืชมีสภาพไม่สมบูรณ์หรือสิ่งแวดล้อมไม่เหมาะสมจากความร้อน ความแห้งแล้ง
6. ช่วยให้พืชติดดอกออกผลดี พืชดอกจะมีดอกสมบูรณ์เพศสูง ทำให้ดอกดก ผลดก เช่น ในลำไย ลิ้นจี่
7. ช่วยให้พืชเจริญเติบโตและเพิ่มสารสะสมต่างๆได้เร็ว พืชสมบูรณ์จากภายในสู่ภายนอก
8. ช่วยให้พืชสังเคราะห์แสงได้ดีขึ้น และเพิ่มคุณภาพของสารสะสมต่างๆในพืช


จำไว้ว่า “แสงแดด” เป็นปัจจัยที่เราควบคุมไม่ได้ เราจะบังคับดวงอาทิตย์ให้ส่องแสงเป็นระยะเวลายาวนานเกินกว่าปรกติที่ควรจะเป็นหาได้ไม่ ในเมื่อเราไม่สามารถบังคับดวงอาทิตย์ได้ เราก็ไม่สามารถบังคับให้พืช “สังเคราะห์แสง” ได้ปริมาณตามที่เราต้องการได้ แล้วเราจะทำอย่างไรให้กระบวนการสังเคราะห์สารต่างๆ ในพืชดำเนินไปได้ปรกติสมบูรณ์ เพื่อให้ผลผลิตต่างๆ ของพืชผลิตออกมาได้บรรลุตามเป้าหมายที่วางไว้ “พาร์ทเวย์” คือคำตอบ ?
เมื่อใช้ “พาร์ทเวย์” เราจะพบการเปลี่ยนแปลงของลักษณะภายนอกของพืชอย่างเห็นได้ชัด พืชจะใบใหญ่ ใบดก เขียวเข้ม แตกยอดดี แตกกิ่งก้านมากขึ้น แตกรากดี รากหนาแน่นและยาวกว่าปรกติ พืชดอกจะแทงดอกดี ช่อดอกยาว ดอกสมบูรณ์เพศสูง ดอกจะดก ผลจะดก สำหรับไม้ดอกสีสันสวย สดใส และดอกใหญ่




“พาร์ทเวย์” : ภาวะวิกฤตโลกร้อนเช่นทุกวันนี้.... “คุณไม่ใช้....ไม่ได้แล้ว”

น้ำยางในต้นยางพารา มีส่วนประกอบของสาร cis – polyisoprene (C5H8)n ซึ่งในน้ำยางที่มีคุณภาพสูงจะมีปริมาณของสารนี้ในสัดส่วนที่สูงและมีขนาดของสารโมเลกุลที่ยาว

สารตั้งต้นในการผลิตน้ำยางในธรรมชาติ ได้แก่สารมาเลท (Malate) ซึ่งจะเปลี่ยนเป็น Acetyl – CoA และ Pyruvate ก่อนที่จะผ่านกระบวนการทางชีวเคมีเปลี่ยนเป็นสาร IPP ซึ่งเป็นหน่วยเล็กสุด             ของโมเลกุลของยางธรรมชาติ Isoprenoid Pathway เป็นการสังเคราะห์แสง IPP จากMalate   PATHWAY เปลี่ยนเป็น Acetyl – CoA  GAP /Pyruvate Pathway  เป็นการสังเคราะห์สาร IPP
จาก Malate เปลี่ยนเป็น Pyruvate  สาร IPP ที่ได้จะรวมตัวกันโดยเอ็นไซม์ IPPI และมี Mg2+
 เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา ได้เป็นสารที่มี คาร์บอนสูง จาก IPP (C5) เป็น DMAPP(C5) GPP(C10) FPP(C15) และ GGPP(C20) ตามลำดับ ในขั้นตอน สุดท้ายสาร GGPP แต่ละโมเลกุลจะต่อกันเป็นสายโพลิเมอร์โดยเอ็นไซม์ Rubber Transferase (RuT) โดยดึงเอาสาร IPP เป็นตัวเชื่อมสาร GGPP
จนได้เป็นสายโมเลกุลที่ยาวขึ้นในรูป Cis – polyisoprene





พืชสะสมน้ำมันจะมีกระบวนการสังเคราะห์น้ำมัน 2 ขั้นตอนคือ

1. ขั้นตอนการสังเคราะห์กรดไขมัน (Fatty acid Biosynthesis)
เป็นขั้นตอนที่พืชตรึงก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ผ่านกระบวนการสังเคราะห์แสง ได้สารที่มีคาร์บอน 4 อะตอม หรือ Malate ซึ่งเป็น สารตั้งต้นในการเปลี่ยนเป็น Acetyl - CoA, Malonyl – ACP และต่อกันเป็นโมเลกุลใหญ่ C16  เช่น  Plamatic acid หรือ C18 เช่น Stearic acid หรือ Oleic Acid



2. ขั้นตอนการประกอบตัวเป็นน้ำมัน โดยกรดไขมัน
ในขั้นตอนแรกจะถูกเปลี่ยนเป็น Acyl – CoAs ก่อนที่จะรวมตัวกับ
 Glycerol 3 – phosphate เป็น Phosphatidate, Diacylglycerol (DAG)
ซึ่งพืชนำไปสังเคราะห์เป็นไขมันต่างๆได้และสุดท้ายได้เป็น
 Triacylglycerol (TAG) ซึ่งเป็นน้ำมันสะลมในพืชต่อไป






สนใจติดต่อ
084 - 8809595 , 084 - 3696633
www. ยางตายนึ่ง.com
www.facebook.com/PathwayEraser1
📱Line ID : @organellelife.com (อย่าลืมพิมพ์ @ ด้วยครับ)
หรือกดลิงก์ด้านล่าง แล้วเพิ่มเป็นเพื่อนใน Line@ เพื่อคุยสอบถามข้อมูลได้ครับ>>> http://line.me/ti/p/%40organellelife.com





 

5 Mode of Action ในธรรมชาติของต้นยางพารา

5 Mode of Action ในธรรมชาติของต้นยางพารา

ในธรรมชาติต้นยางที่ถูกกรีดจะสร้างภูมิต้านทานตนเอง
โดยจะหลั่งกรดอินทรีย์ Hydroxy  acid  กระตุ้นให้เซลล์ สร้างโปรตีนและสารต่างๆ ออกมาเพื่อสมานแผลจากการกรีด ป้องกันโรคแทรกซ้อน และสร้างหน้ายางใหม่ ขึ้นมาทดแทน

กลไกป้องกันตนเองของต้นยางด้วย Hydroxy  acid
   - กระตุ้นการสมานแผลจากการกรีด   โดยกระตุ้นการสร้างและสะสม lignin  เสริมความแข็งแรงที่ผนังเซลล์
   - กระตุ้นการสร้าง phenolics ,phytoalexin , PR-proteins เพื่อช่วยป้องกัน เชื้อโรคแทรกซ้อน จาก
     บาดแผลที่กรีด
   - กระตุ้นให้เกิดการหมุนเวียนของน้ำและสารอาหาร (water circulation ) ในระบบท่อลำเลียงดีขึ้น มากขึ้น
   - เพิ่มการแบ่งเซลล์ของเยื่อเจริญสร้างเป็นหน้ายางใหม่ได้เร็วขึ้น และรักษาสมดุลของเซลล์ ทำให้การแบ่งเซลล์
     สมบูรณ์ไม่ผิดรูปร่าง
   - ฟื้นฟูสภาพและการทำหน้าที่ต่างๆของเซลล์ให้กลับมาเป็นปกติเหมือนเซลล์ใหม่ (revitalize)

ขบวนการสังเคราะห์น้ำยางตามธรรมชาติ
      น้ำยางในต้นยางพารา  มีส่วนประกอบของสาร cis–polyisoprene (C5H8)n ซึ่งในน้ำยางที่มีคุณภาพสูงจะมีปริมาณของสารนี้ในสัดส่วนที่สูงและ มีขนาดสายของโมเลกุลที่ยาว สารตั้งต้นที่ใช้ในการผลิตน้ำยางในธรรมชาติได้จากการสังเคราะห์แสง ได้แก่ สารมาเลท (Malate) ซึ่ง จะเปลี่ยนเป็น Acetyl-CoA และ Pyruvate ก่อนที่จะผ่านขบวนการทางชีวเคมีเปลี่ยนเป็นสาร IPP ซึ่งเป็นหน่วยเล็กสุดของโมเลกุลของยางธรรมชาติ Isoprenoid Pathway เป็นการสังเคราะห์สาร IPP จาก Malate เปลี่ยนเป็น Acetyl-CoA GAP/Pyruvate  Pathway เป็นการสังเคราะห์ IPP จาก Malate เปลี่ยนเป็น Pyruvate
สาร IPP ที่ได้จะรวมตัวกันโดย enzyme IPPI และมี Mg2+ เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา ได้เป็นสารที่มีคาร์บอนสูงขึ้นจาก IPP(C5) เป็น DMAPP(C5), GPP(C10),FPP(C15)และ GGPP(20) ตามลำดับ ในขั้นตอนสุดท้ายสาร GGPP แต่ละโมเลกุลจะต่อกันเป็นสายโพลิเมอร์โดย enzyme Rubber Transferase (RuT)
โดยดึงเอาสาร IPP เป็นตัวเชื่อมระหว่างสาร GGPP จนได้เป็นสายโมเลกุลที่ยาวขึ้นในรูป cis – polyisoprene

เทคนิคการเพิ่มผลผลิตน้ำยาง  โดยต้นยางไม่โทรมด้วยวิธีทางชีวเคมีเคมี
       เทคนิคการเพิ่มผลผลิตน้ำยางด้วยวิธีทางชีวเคมีที่ดีและถูกต้อง  เป็นเทคนิคที่ส่งเสริมการเจริญเติบโตและการบำรุงรักษาต้นยางให้สมบูรณ์อย่าง ถูกวิธีและต่อเนื่อง และไม่ใช่วิธีเร่งแบบเดิมๆ ด้วยการใช้สารเร่งการแก่ของพืชอย่าง เอทีฟอน (Ethephon) ซึ่งสามารถ
เพิ่มผลผลิตน้ำยางได้ดี แต่ก็จะทำให้ต้นยางโทรม ต้นยางตายและต้นยางอาจตายก่อนอายุกำหนดในที่สุด
เทคนิคการเพิ่มผลผลิตน้ำยางด้วยสารเคมีที่เหมาะสมอย่างถูกวิธีประกอบด้วย 3 แนวทางประกอบกัน ได้แก่
1. การให้วัตถุดิบในการผลิตน้ำยาง
2. การบำรุงสภาพหน้ายางและเซลล์ผลิตน้ำยาง (Laticifer)
   ให้สมบูรณ์แข็งแรงอยู่เสมอ
3. ให้ต้นยางแบ่งเซลล์ผลิตน้ำยาง (Laticifer) มากขึ้น

การให้วัตถุดิบในการผลิตน้ำยาง

       น้ำยางที่เกิดขึ้นต้องมีวัตถุดิบในการสังเคราะห์ขึ้นมา ซึ่งได้แก่ ปุ๋ยธาตุอาหารหลัก ธาตุอาหารรอง ธาตุอาหารเสริมคาร์บอนไดออกไซด์ น้ำ และแสงแดด ดังนั้น ถ้าต้องการน้ำยางมากก็จำเป็นต้องให้วัตถุดิบเหล่านี้มากตามไปด้วยแต่ในสภาพ ภูมิอากาศ สิ่งแวดล้อม หรือสภาพต้นยางที่ไม่สมบูรณ์ ขบวนการสังเคราะห์น้ำยางจะไม่สมบูรณ์ ทำให้บางครั้ง การนำปุ๋ยและธาตุอาหารเหล่านี้ไปใช้ได้ไม่เต็มที่ การให้ สารตั้งต้น(Precursor) อย่างสาร Malate ( PATHWAY )
เป็นเทคนิคหนึ่งที่ช่วยลดปัญหาจากสภาพที่ไม่เหมาะสมได้ เพิ่มวัตถุดิบในการผลิตน้ำยางได้ทันทีทุกสภาพแวดล้อม
บำรุงสภาพหน้ายางและเซลผลิตน้ำยางให้สมบูรณ์แข็งแรง
ถ้าเซลล์ผลิตน้ำยาง (Laticifer) แข็งแรงไม่เกิดเชื้อโรคเข้าทำลาย การผลิตน้ำยางก็จะสม่ำเสมอเป็นปกติ  การใช้เอทีฟอน เป็นประจำจะเร่งการตายของเซลล์ผลิตน้ำยาง น้ำยางได้มากช่วงแรก แต่เมื่อเซลล์ตายก็ไม่สามารถผลิตน้ำยางได้ในที่สุด การทำให้เซลล์ผลิตน้ำยางแข็งแรงและการลดเชื้อโรคบริเวณหน้ายาง ทำได้โดยการกระตุ้นภูมิต้านทานป้องกันตนเอง
(self  defense mechanism) ให้ต้นยาง ด้วยกรดอินทรีย์  Hydroxy acid
(อย่าง ERASER-1) ทำให้สามารถต้านทานเชื้อโรคที่เข้าทำลายเซลล์ผลิตน้ำยาง
บริเวณหน้ายางได้ดีขึ้น และยังส่งเสริมให้เซลล์ผลิตน้ำยางแข็งแรง ผลิตน้ำยางสม่ำเสมอ สร้างหน้ายางใหม่สมบูรณ์และกรีดง่าย

การเพิ่มจำนวนเซลล์ผลิตน้ำยาง
  
     ถ้ามีเซลล์ผลิตน้ำยางมากก็จะมีผลผลิตน้ำยางมาก ซึ่งโดยธรรมชาติเซลล์ผลิตน้ำยาง
จะเกิด จากการแบ่งตัวของเซลล์เยื่อเจริญที่อยู่ใต้ชั้น เปลือกของต้นยาง (ลึกกว่ารอยกรีดเล็กน้อย) การให้ MeJA (อย่าง LATEK)  เพียงเล็กน้อย จะทำให้การแบ่งตัวของเยื่อเจริญได้เป็นเซลล์ผลิตน้ำยาง (Laticifer) มากขึ้น

สนใจติดต่อ
084 - 8809595 , 084 - 3696633
www. ยางตายนึ่ง.com
www.facebook.com/PathwayEraser1
📱Line ID : @organellelife.com (อย่าลืมพิมพ์ @ ด้วยครับ)
หรือกดลิงก์ด้านล่าง แล้วเพิ่มเป็นเพื่อนใน Line@ เพื่อคุยสอบถามข้อมูลได้ครับ>>> 


ขบวนการสังเคราะห์น้ำยางตามธรรมชาติ


         น้ำยางในต้นยางพารามีส่วนประกอบของสาร cis-polyisoprene(C5H8)n ซึ่งในน้ำยางที่มีคุณภาพสูงจะมีปริมาณของสารนี้ในสัดส่วนที่สูงและมีขนาดสายของโมเลกุลที่ยาว สารตั้งต้นที่ใช้ในการผลิตน้ำยางในธรรมชาติได้จากการสังเคราะห์แสง ได้แก่ สารมาเลท (Malate) ซึ่งจะเปลี่ยนเป็น Acetyl-CoA และ Pyruvate ก่อนที่จะผ่านขบวนการทางชีวเคมีเปลี่ยนเป็นสาร IPP ซึ่งเป็นหน่วยเล็กสุดของโมเลกุลของยางธรรมชาติ
Isoprenoid Pathway เป็นการสังเคราะห์สาร IPP จาก Malate เปลี่ยนเป็น Acetyl-CoA
GAP/Pyrubate Pathway เป็นการสังเคราะห์สาร IPP จาก Malate เปลี่ยนเป็น Pyruvate
สาร IPP ที่ได้จะรวมตัวกันโดย enzyme IPPI และมี Mg2+ เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา ได้เป็นสารที่มีคาร์บอนสูงขึ้น จาก IPP(C5) เป็น DMAPP(C5), GPP(C10), FPP(C15), และ GGPP(C20) ตามลำดับ ในขั้นตอนสุดท้ายสาร GGPP แต่ละโมเลกุลจะต่อกันเป็นสายโพลีเมอร์โดย enzyme Rubber Transferase (RuT) โดยดึงเอาสาร IPP เป็นตัวต่อเชื่อมระหว่างสาร GGPP จนได้เป็นสายโมเลกุลที่ยาวขึ้นในรูป cis-polyisoprene
 


 
กว่าจะมาเป็น "น้ำยางพาราธรรมชาติ"  ต้องผ่านกระบวนการทางชีวเคมี(Biochemistry) โดยมีสาร " ตั้งต้น" (Precursor) ในการเริ่มต้นสังเคราะห์น้ำยาง  ห้มั่นใจว่า"พาร์ทเวย์" (PATHWAY)ที่มี "สารตั้งต้น" ในกระบวนการสร้างน้ำยาง ยิ่งใช้ยิ่งดี น้ำยางยิ่งมีน้ำหนัก เนื้อแน่น (โมเลกุลน้ำยางยาวขึ้น) เปอร์เซนต์น้ำยางสูงขึ้น  เปอร์เซนต์น้ำยางไม่ตกต่ำ ไม่ว่าจะเจอภาวะอากาศแปรปรวนใดๆก็ตามที "พาร์ทเวย์"(PATHWAY)จะไปช่วยให้ต้นยางที่สร้าง"สารตั้งต้น" (Precursor) ไม่ดีหรือมีไม่เพียงพอต่อกระบวนการสังเคราะห์น้ำยาง ให้มี "สารตั้งต้น" (Precursor) ที่เพียงพอต่อการสังเคราะห์น้ำยางได้มากขึ้นหรือเป็นปกติขึ้น  ไม่ต้องถามว่าเป็น "สารเร่ง"  หรือไม่? ตอบได้เลยว่า   "ไม่ใช่" เพราะมันไม่มี "เอทธิลีน"(Ethylene) จริงๆแล้วต้นยางพาราขาด"สารตั้งต้น"( Malate) ตัวนี้ไม่ได้จริงๆ ถ้ายังคิดว่าต้องการน้ำยางพาราอยู่อย่างต่อเนื่องตลอดไป  การสร้าง"น้ำยางพารา" จึงต้องผ่านสารตัวนี้อยู่ดี 
(ที่ให้ใช้"พาร์ทเวย์"ควบคู่กับ"อีเรเซอร์-1" ก็เพราะมันมีความจำเป็นต้องรักษาแผลที่หน้ายางตลอดเวลาไม่ให้ติดเชื้อโรค และต้องฆ่าเชื้อโรคที่รุนแรงที่จะเข้าทำลายบริเวณแผลที่หน้ายางด้วยสารฆ่าเชื้อแบบเฉียบพลัน  และยังต้องป้องกันเชื้อโรคต่างๆที่จะเกิดขึ้นกับหน้ายางอีกด้วย  ที่สำคัญต้นยางเองยังต้องมีการสร้างเซลล์เนื้อเยื่อเปลือกทดแทน(Revitalize) ส่วนที่เสียหายไปจากการกรีดให้กลับคืนมาเป็นหน้าปกติอีกด้วย ซึ่งกรดอินทรีย์สังเคราะห์ในกลุ่ม Hydroxy acid บางตัวที่มีอยู่ใน"อีเรเซอร์-1"สามารถทำหน้าที่นี้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ)